OCSC Wiki

คลังกลางความรู้ด้าน HR

User Tools

Site Tools


การบริหารทรัพยากรบุคคล:อุทธรณ์ร้องทุกข์:การพิทักษ์ระบบคุณธรรม:อุทธรณ์:การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน

Differences

This shows you the differences between two versions of the page.

Link to this comparison view

Next revision
Previous revision
การบริหารทรัพยากรบุคคล:อุทธรณ์ร้องทุกข์:การพิทักษ์ระบบคุณธรรม:อุทธรณ์:การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน [2017/08/30 15:54]
nititham.p created
การบริหารทรัพยากรบุคคล:อุทธรณ์ร้องทุกข์:การพิทักษ์ระบบคุณธรรม:อุทธรณ์:การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน [2017/08/30 18:47] (current)
nititham.p ↷ Page moved from การพิทักษ์ระบบคุณธรรม:อุทธรณ์:การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน to การบริหารทรัพยากรบุคคล:อุทธรณ์ร้องทุกข์:การพิทักษ์ระบบคุณธรรม:อุทธรณ์:การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน
Line 1: Line 1:
 ====== การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน ====== ====== การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน ======
  
-===== การอุทธรณ์แทน =====+===== การอุทธรณ์แทน =====
  
 บุคคลต่อไปนี้อุทธรณ์แทนผู้มีสิทธิอุทธรณ์ได้ บุคคลต่อไปนี้อุทธรณ์แทนผู้มีสิทธิอุทธรณ์ได้
-  -ทายาท ​ ในกรณีที่ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ถึงแก่ความตายก่อนที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ ​ ทายาทผู้มีสิทธิรับบำเหน็จตกทอดของผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์แทนได้ ​ ในกรณีที่มีทายาทหลายคน ​ หรือทายาทเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ ​ หากทายาทเหล่านั้นประสงค์จะอุทธรณ์แทน ​ ให้นำกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยความสามารถ มาเทียบเพื่อการใช้บังคับแล้วแต่กรณี โดยอนุโลม  +==== 1.1 ทายาท ​==== 
-  -ทนายความ หรือบุคคลอื่นซึ่งบรรลุนิติภาวะ ​ ผู้มีสิทธิอุทธรณ์จะมอบหมายให้ทนายความหรือบุคคลอื่นซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว ทำการอุทธรณ์แทนได้ด้วยเหตุจำเป็นอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้+ในกรณีที่ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ถึงแก่ความตายก่อนที่จะใช้สิทธิอุทธรณ์ ​ ทายาทผู้มีสิทธิรับบำเหน็จตกทอดของผู้นั้นมีสิทธิอุทธรณ์แทนได้  ​ 
 + 
 +ในกรณีที่มีทายาทหลายคน ​ หรือทายาทเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ ​ หากทายาทเหล่านั้นประสงค์จะอุทธรณ์แทน ​ ให้นำกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยความสามารถ มาเทียบเพื่อการใช้บังคับแล้วแต่กรณี โดยอนุโลม  
 +==== 1.2 ทนายความ ​==== 
 +หรือบุคคลอื่นซึ่งบรรลุนิติภาวะ ​ ผู้มีสิทธิอุทธรณ์จะมอบหมายให้ทนายความหรือบุคคลอื่นซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว ทำการอุทธรณ์แทนได้ด้วยเหตุจำเป็นอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ​ 
   *เจ็บป่วยจนไม่สามารถอุทธรณ์ด้วยตนเองได้   *เจ็บป่วยจนไม่สามารถอุทธรณ์ด้วยตนเองได้
   *อยู่ในต่างประเทศและคาดหมายได้ว่าไม่อาจอุทธรณ์ด้วยตนเองได้ทันเวลาที่กำหนด  ​   *อยู่ในต่างประเทศและคาดหมายได้ว่าไม่อาจอุทธรณ์ด้วยตนเองได้ทันเวลาที่กำหนด  ​
   *มีเหตุจำเป็นอย่างอื่นที่ ก.พ.ค. หรือองค์คณะวินิจฉัยอุทธรณ์เห็นสมควร   *มีเหตุจำเป็นอย่างอื่นที่ ก.พ.ค. หรือองค์คณะวินิจฉัยอุทธรณ์เห็นสมควร
  
-===== การดำเนินกระบวนพิจารณาแทน =====+===== การดำเนินกระบวนพิจารณาแทน ===== 
 + 
 +ผู้อุทธรณ์อาจมอบหมายให้ทนายความ หรือบุคคลอื่นซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว เป็นผู้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในกระบวนการอุทธรณ์แทนผู้มีสิทธิอุทธรณ์ก็ได้ ​ แต่ต้องแจ้งล่วงหน้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้องก่อน ​ และในการชี้แจงหรือให้ถ้อยคำต่อองค์คณะวินิจฉัยอุทธรณ์หรือต่อกรรมการเจ้าของสำนวน ​ คู่กรณีมีสิทธินำทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเข้ามาฟังการพิจารณาได้
  
-      ผู้อุทธรณ์อาจมอบหมายให้ทนายความ หรือบุคคลอื่นซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว เป็นผู้ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในกระบวนการอุทธรณ์แทนผู้มีสิทธิอุทธรณ์ก็ได้ ​ แต่ต้องแจ้งล่วงหน้าเพื่อตรวจสอบความถูกต้องก่อน ​ และในการชี้แจงหรือให้ถ้อยคำต่อองค์คณะวินิจฉัยอุทธรณ์หรือต่อกรรมการเจ้าของสำนวน ​ คู่กรณีมีสิทธินำทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเข้ามาฟังการพิจารณาได้ +อนึ่ง การมอบหมายให้ทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้มอบ และผู้รับมอบ ถ้าผู้มอบไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ​ ให้พิมพ์ลายนิ้วมือหรือแกงไดโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรองอย่างน้อยสองคน ​ และให้มีหลักฐานแสดงตัวผู้ได้รับมอบหมายด้วย
-      ​อนึ่ง การมอบหมายให้ทำเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้มอบ และผู้รับมอบ ถ้าผู้มอบไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ​ ให้พิมพ์ลายนิ้วมือหรือแกงไดโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรองอย่างน้อยสองคน ​ และให้มีหลักฐานแสดงตัวผู้ได้รับมอบหมายด้วย+
  
การบริหารทรัพยากรบุคคล/อุทธรณ์ร้องทุกข์/การพิทักษ์ระบบคุณธรรม/อุทธรณ์/การอุทธรณ์แทนและการดำเนินกระบวนพิจารณาแทน.1504083284.txt.gz · Last modified: 2017/08/30 15:54 by nititham.p