This shows you the differences between two versions of the page.
Next revision | Previous revision | ||
องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557 [2018/07/18 13:29] puirui created |
องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557 [2018/07/19 09:19] (current) puirui [สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร] |
||
---|---|---|---|
Line 1: | Line 1: | ||
====== รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ====== | ====== รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ====== | ||
- | สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช | + | ===== สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ===== |
- | สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร | + | ===== สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ===== |
- | ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ | + | ให้ไว้ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 |
- | เป็นปีที่ ๖๙ ในรัชกาลปัจจุบัน | + | เป็นปีที่ 69 ในรัชกาลปัจจุบัน |
+ | |||
+ | พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกาศว่า | ||
+ | |||
+ | โดยที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติซึ่งประกอบด้วยคณะทหารและตำรวจได้นำความกราบบังคมทูลว่า ตามที่ได้เกิดสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองขึ้นในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกล้เคียงต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน จนลุกลามไปสู่แทบทุกภูมิภาคของประเทศ ประชาชนแตกแยกเป็นฝ่ายต่าง ๆ ขาดความสามัคคีและมีทัศนคติไม่เป็นมิตรต่อกัน บางครั้งเกิดความรุนแรง ใช้กำลังและอาวุธสงครามเข้าทำร้ายประหัตประหารกัน สวัสดิภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนไม่เป็นปกติสุข การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองการปกครองชะงักงัน กระทบต่อการใช้อำนาจในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร และในทางตุลาการ การบังคับใช้กฎหมายไม่ได้ผล นับเป็นวิกฤติการณ์ร้ายแรงที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน แม้รัฐจะแก้ไขปัญหาด้วยกลไกและมาตรการทางกฎหมาย เช่น นำกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยในภาวะต่าง ๆ มาบังคับใช้ ยุบสภาผู้แทนราษฎรและจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป และฝ่ายที่ไม่ได้เป็นคู่กรณี เช่น องค์กรธุรกิจ ภาคเอกชน องค์กรตามรัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง กองทัพ และวุฒิสภา ได้พยายามประสานให้มีการเจรจาปรองดองกัน แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จ กลับจะเกิดข้อขัดแย้งใหม่ในทางกฎหมายและการเมือง เป็นวังวนแห่งปัญหาไม่รู้จักจบสิ้น ในขณะที่ความขัดแย้งได้ขยายตัวกว้างขวางออกไป และมีแนวโน้มจะรุนแรงมากขึ้นจนถึงขั้นจลาจลได้ทุกขณะซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สิน ความสะดวกสบายของประชาชนผู้สุจริต กระทบต่อการทำมาหากินและภาวะหนี้สินของเกษตรกรโดยเฉพาะชาวนา การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การป้องกันปัญหาจากภัยธรรมชาติ ความเชื่อถือในอำนาจรัฐ และความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติ ทั้งยังเปิดช่องให้มีการก่ออาชญากรรมและความไม่สงบอื่นเพิ่มขึ้น อันจะเป็นการทำลายความมั่นคงของชาติและความศรัทธาของประชาชนที่มีต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขในที่สุด คณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงจำเป็นต้องเข้ายึดและควบคุมอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลง ยกเว้นความในหมวด 2 พระมหากษัตริย์ โดยได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหาไว้สามระยะคือ ระยะเฉพาะหน้า เป็นการใช้อำนาจสกัดการใช้กำลังและการนำอาวุธมาใช้คุกคามประชาชน ยุติความหวาดระแวง และแก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครอง ที่สะสมมากว่าหกเดือนให้คลี่คลายลง เพื่อเตรียมเข้าสู่ระยะที่สองซึ่งจะจัดให้มีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว จัดตั้งสภาขึ้นทำหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ และให้มีคณะรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดิน แก้ไขสถานการณ์อันวิกฤติให้กลับคืนสู่สภาวะปกติ ฟื้นฟูความสงบเรียบร้อย ความรู้รักสามัคคี และความเป็นธรรม แก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง จัดให้มีกฎหมายที่จำเป็นเร่งด่วน จัดตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและองค์กรต่าง ๆ เพื่อให้มีการปฏิรูปในด้านการเมืองและด้านอื่น ๆ และให้มีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่วางกติกาการเมืองให้รัดกุม เหมาะสม ป้องกันและปราบปรามการทุจริต สามารถตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเป็นธรรม ก่อนจะส่งมอบภารกิจเหล่านี้แก่ผู้แทนปวงชนชาวไทยและคณะรัฐบาลที่จะเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินในระยะต่อไป ในการดำเนินการดังกล่าวนี้จะให้ความสำคัญแก่หลักการพื้นฐานยิ่งกว่าวิธีการในระบอบประชาธิปไตยเพียงประการเดียว จึงจำเป็นต้องใช้เวลาสร้างบรรยากาศแห่งความสงบเรียบร้อยและปรองดอง เพื่อนำความสุขที่สูญหายไปนานกลับคืนสู่ประชาชน และปฏิรูปกฎเกณฑ์บางเรื่องที่เคยเป็นชนวนความขัดแย้ง ไม่ชัดเจน ไร้ทางออกในยามวิกฤติ ขาดประสิทธิภาพหรือไม่เป็นธรรม ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชนในชาติ ซึ่งควรใช้เวลาไม่ยาวนานหากเทียบกับเวลาที่จะต้องสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ถ้าปล่อยให้สถานการณ์ผันแปรไปตามยถากรรม จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้บทบัญญัติต่อไปนี้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) จนกว่าจะได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จะจัดทำขึ้นตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป | ||
+ | |||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_1|มาตรา 1]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_2|มาตรา 2]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_3|มาตรา 3]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_4|มาตรา 4]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_5|มาตรา 5]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_6|มาตรา 6]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_7|มาตรา 7]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_8|มาตรา 8]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_9|มาตรา 9]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_10|มาตรา 10]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_11|มาตรา 11]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_12|มาตรา 12]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_13|มาตรา 13]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_14|มาตรา 14]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_15|มาตรา 15]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_16|มาตรา 16]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_17|มาตรา 17]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_18|มาตรา 18]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_19|มาตรา 19]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_20|มาตรา 20]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_21|มาตรา 21]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_22|มาตรา 22]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_23|มาตรา 23]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_24|มาตรา 24]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_25|มาตรา 25]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_26|มาตรา 26]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_27|มาตรา 27]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_28|มาตรา 28]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_29|มาตรา 29]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_30|มาตรา 30]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_31|มาตรา 31]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_32|มาตรา 32]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_33|มาตรา 33]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_34|มาตรา 34]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_35|มาตรา 35]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_36|มาตรา 36]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_37|มาตรา 37]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_37/1|มาตรา 37/1]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_38|มาตรา 38]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_39|มาตรา 39]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_39/1|มาตรา 39/1]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_39/2|มาตรา 39/2]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_39/3|มาตรา 39/3]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_40|มาตรา 40]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_41|มาตรา 41]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_42|มาตรา 42]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_43|มาตรา 43]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_44|มาตรา 44]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_45|มาตรา 45]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_46|มาตรา 46]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_47|มาตรา 47]] | ||
+ | * [[องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2557:มาตรา_48|มาตรา 48]] | ||
+ | |||
+ | ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ | ||
+ | |||
+ | พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา | ||
+ | |||
+ | หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ | ||
+ | |||
+ | {{ :องค์ความรู้กฎหมาย:รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย:รธน._2557.pdf |รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557}} | ||
+ | |||
+ | {{tag> องค์ความรู้กฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_2557}} |